วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
การคำนวณสูตรอย่างง่าย
สูตรเอมพิริคัล = น้ำหนักของสาร A : น้ำหนักของสาร B
มวลอะตอมสาร A : มวลอะตอมสาร B
ในการคำนวณสูตรเอมพิริคัลนั้น จำเป็นต้องทราบข้อมูลต่อไปนี้
การคำนวณสูตรเอมพิริคัล และสูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัล = น้ำหนักของสาร A : น้ำหนักของสาร B
มวลอะตอมสาร A : มวลอะตอมสาร B
ในการคำนวณสูตรเอมพิริคัลนั้น จำเป็นต้องทราบข้อมูลต่อไปนี้
1.สารนั้นมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบ อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
การคำนาณสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. สูตรโมเลกุล ( Molecular formula ) คือ สูตรที่แสดงให้ทราบว่าในสาร 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้างอย่างละกี่อะตอม
Example : C6 H12 O6 = ประกอบด้วยคาร์บอน (C) 6 อะตอม ไฮโดรเจน (H) 12 อะตอม และ ออกซิเจน (O) 6 อะตอม
2. สูตรเอมพิริคัลอย่างง่าย ( Empirical formula ) คือ สูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนอะตอมหรือจำนวนโมลอะตอมของธาตุองค์ประกอบ สิ่งที่ทราบได้จากสูตรเอมพิริคัล ได้แก่
( 1 ) ชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
( 2 ) อัตราส่วนอย่างตำของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
Example : C6 H12 O6 = C : H : O = 6 : 12 : 6 สูตรเอมพิริคัลอย่างง่ายคือ 1 : 2 : 1
3. สูตรโครงสร้าง ( Structural formula )
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. สูตรโมเลกุล ( Molecular formula ) คือ สูตรที่แสดงให้ทราบว่าในสาร 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้างอย่างละกี่อะตอม
Example : C6 H12 O6 = ประกอบด้วยคาร์บอน (C) 6 อะตอม ไฮโดรเจน (H) 12 อะตอม และ ออกซิเจน (O) 6 อะตอม
2. สูตรเอมพิริคัลอย่างง่าย ( Empirical formula ) คือ สูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนอะตอมหรือจำนวนโมลอะตอมของธาตุองค์ประกอบ สิ่งที่ทราบได้จากสูตรเอมพิริคัล ได้แก่
( 1 ) ชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
( 2 ) อัตราส่วนอย่างตำของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
Example : C6 H12 O6 = C : H : O = 6 : 12 : 6 สูตรเอมพิริคัลอย่างง่ายคือ 1 : 2 : 1
3. สูตรโครงสร้าง ( Structural formula )
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)